Fire
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย+option
อัคคีภัยสถานประกอบการ
อัคคีภัยสถานประกอบการ+option
อัคคีภัย บริษัทอื่นๆ
อัคคีภัยธุรกิจ
ประกันภัยธุรกิจ
เสี่ยงภัยทุกชนิด (เสี่ยงภัยทรัพย์สิน)
สั่งซื้อประกันอัคคีภัย
ขอใบเสนอประกันอัคคีภัย
Liability
วิชาชีพแพทย์ (Doctor)
บุคคลภายนอก (Third-party)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
วิชาชีพบัญชี (Accountant)
ผู้ตรวจสอบอาคาร
ความรับผิดผู้ขนส่ง
ประกันภัยไซเบอร์ Cyber insurance
Life
แบบประกันชีวิต ▶️
ตลอดชีพ
สะสมทรัพย์
บำนาญ
จ่ายสั้น
เน้นคุ้มครองชีวิต
เน้นเก็บเงิน
อนุสัญญา
ประกันการศึกษาเด็ก
ประกันเกษียณ
ประกันเด็ก
กลุ่ม
Health
ประกันสุขภาพ
ประกันชดเชยรายได้
ประกันมะเร็ง
PA TA
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันอุบัติเหตุ+มะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ+ชดเชยรายได้
ประกันเดินทาง
ประกันเรียนต่อต่างประเทศ
Motor
ประกันภัยรถยนต์
พรบ รถยนต์
ประกันมอเตอร์ไซค์
พรบ มอเตอร์ไซค์
ประกันอื่น
ประกันวิศวกรรม
ประกันก่อสร้าง
ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด
ประกันธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์
ประกันอีเวนท์ (Event)
ประกันความซื่อสัตย์
ประกันสินเชื่อหรือเครดิตการค้า
ประกันหมาแมว (Cat&Dog)
สนับสนุน
customer login
ซื้อ+ชำระเงิน
ความรู้ประกัน
แบบฟอร์ม
อู่รถยนต์คู่สัญญาประกัน
โรงพยาบาลคู่สัญญา
เรทค่าห้อง
เกี่ยวกับเรา
เว็บบอร์ด
สมัครขายประกัน
BMI
TAX-insurance
ติดต่อ
FB
Inbox
Question
Email
(เบอร์โทรปรากฏตามเวลา)
admin LineOA
LineOA
Life Agent app(BLA)
Life Agent login(BLA)
Broker login(MTI)
Broker login(BKI)
Broker login(Aetna)
🔻
cymiz.com
MENU
ประกันอัคคีภัย ▶️
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย+option
อัคคีภัยสถานประกอบการ
อัคคีภัยสถานประกอบการ+option
อัคคีภัย บริษัทอื่นๆ
ประกันภัยธุรกิจ
เสี่ยงภัยทุกชนิด(เสี่ยงภัยทรัพย์สิน)
ประกันอัคคีภัยสำหรับธุรกิจ
สั่งซื้อประกันอัคคีภัย
ขอใบเสนอประกันอัคคีภัย
สุขภาพ | อุบัติเหตุ | เดินทาง ▶️
ประกันสุขภาพ
ประกันชดเชยรายได้
ประกันมะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันอุบัติเหตุ+มะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ+ชดเชยรายได้
ประกันเดินทาง
ประกันเรียนต่อต่างประเทศ
ประกันความรับผิดทางกฏหมาย ▶️
วิชาชีพแพทย์ (Doctor)
บุคคลภายนอก (Third-party)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
วิชาชีพบัญชี (Accountant)
ผู้ตรวจสอบอาคาร
ความรับผิดผู้ขนส่ง
ประกันภัยไซเบอร์ Cyber insurance
วิศวกรรม | รับเหมา | ก่อสร้าง ▶️
ประกันวิศวกรรม
ประกันก่อสร้าง
ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด
รถยนต์ | มอไซค์ | พรบ ▶️
ประกันรถยนต์
พรบ รถยนต์
ประกันมอเตอร์ไซค์
พรบ มอเตอร์ไซค์
ประกันภัยอื่นๆ ▶️
ประกันธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์
ประกันอีเวนท์ (Event)
ประกันความซื่อสัตย์
ประกันสินเชื่อหรือเครดิตการค้า
ประกันหมาแมว (Cat&Dog)
ประกันกลุ่ม
ประกันชีวิต
เช็คเบี้ยรถยนต์
ประกันเด็ก การศึกษาบุตร (กรุงเทพประกันชีวิต)
ประกันเด็ก การศึกษาบุตร
ทำประกันให้เด็ก
1. ซื้อ ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ, อุบัติเหตุ
2.เก็บเงินให้ลูก
มีสองแนวคิดเกี่ยวกับประกันชีวิตที่ทำให้กับลูก(เด็ก)
กรณี1 พ่อแม่ทำประกันชีวิตให้ตัวเอง เมื่อไม่อยู่ ลูกจะได้มีเงินไว้ใช้ หรือ เป็นค่าเล่าเรียน (กองทุนการศึกษา) ซื้อประกันแบบตลอดชีพ คุ้มค่าที่สุด
กรณี 2 ต้องการทำประกันชีวิตให้ลูก หรือ + ประกันสุขภาพ
อ่านรายละเอียด
แผนการศึกษาบุตร
การศึกษาว่าเป็นรากฐานที่สำคัญที่สุดของชีวิต ให้ของขวัญที่มีค่าที่สุดกับลูก ด้วยเงินสดก้อนโตที่การันตีการได้รับ สำหรับใช้ในการศึกษา เพื่อนาคตลูก
ระดับ
รัฐบาล
เอกชน
inter
ต่างประเทศ
อนุบาล 1-3
30,000
150,000
600,000
1,200,000
ประถม
70,000
150,000
1,600,000
4,800,000
มัธยม
110,000
150,000
1,500,000
6,000,000
ปริญญาตรี
150,000
600,000
1,200,000
6,000,000
ปริญญาโท
170,000
400,000
1,000,000
3,000,000
ค่าเล่าเรียน สำหรับการศึกษา ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
วันนี้คุณได้เตรียม ค่าเรียนเหล่านี้หรือยัง!
วิธี 1 เก็บเงินก้อนไว้ธนาคาร ลูกมีเงินเรียนแน่นอน(ดีที่สุด แต่ไม่สะดวกจะทำ)
วิธี 2 ค่อยๆ เก็บไปเรื่อยๆ (สะดวกแต่ รับประกันไม่ได้ว่า อยู่เก็บเงินให้ลูกได้ตลอด)
วิธี 3ค่อยๆเก็บ และรับรองยอดให้ (น่าสนใจไหม ?)
กองทุนการศึกษา,เงินเพื่อการศึกษา(Education Fund)
ค่าใช้จ่ายลูก1คน
ค่าใช้จ่ายช่วงตั้งครรภ์
ในช่วง 9 เดือน ค่าใช้จ่ายเมื่อเริ่มตั้งครรภ์ จนกระทั่งทำคลอด เฉลี่ย 20,000 – 100,000 บาท
- ค่าฝากครรภ์ และพบแพทย์ 1,500 – 2,000 บาทต่อเดือน
- ค่าทำคลอดอยู่ในช่วง 30,000 – 60,000 บาท ขึ้นอยู่กับแพ็กเกจที่เลือก ไม่ต่ำกว่า 50,000 บาท ถ้าไม่ทำคลอดในโรงพยาบาลเอกชนที่มีค่าใช้จ่ายสูงมากเกินไปไม่น่าจะเกิน 100,000 บาท
ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงลูกเล็ก
แรกเกิดถึงอายุประมาณ 2 ปี
เสื้อผ้าเด็ก ผ้าอ้อม นม และเครื่องอุ่นนม เปลนอน เครื่องอาบน้ำ อาหารสำหรับเด็ก 30,000 - 50,000 บาท
- ค่านม ค่ากิน เดือนละ 3,000 – 5,000 บาท / ต่อคน = ปีละ 36,000 บาท – 60,000 บาท / ปี
- ค่าวัคซีน เฉลี่ยครั้งละ 2,000 บาท (แล้วแต่ชนิดวัคซีน) หรือเลือกซื้อเป็นแพ็กเกจ ราคา 10,000 บาท (ขึ้นอยู่กับโรงพยาบาล)
- ค่ารักษาพยาบาล เฉลี่ยครั้งละ 500 – 1,000 บาทขึ้นไป (ขึ้นอยู่กับโรคและความรุนแรง)
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น ค่าเสื้อผ้าเด็ก ค่าของใช้เด็กอ่อน ค่าผ้าอ้อมสำเร็จรูป ขนม 5,000 บาท ขึ้นไป
ค่าอาหาร
ค่าอาหารของลูกเล็กจะพิเศษกว่ามาก ทำให้เราต้องกันเงินสำรองสำหรับส่วนนี้ไว้ราว 3,000 – 5,000 บาทต่อเดือน ยังไม่รวมค่ารักษา ค่าวัคซีนต่างๆ ที่ต้องฉีดให้กับเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 12 ปี แต่ถ้าเด็กโตตั้งแต่ 7 ขวบขึ้นไปก็เริ่มรับประทานได้เหมือนกับผู้ใหญ่
ค่าการศึกษา
ค่าการศึกษา รวมค่าใช้จ่ายในการศึกษาทั้งหมดประมาณ 20 ปี
ระดับอนุบาล - ปริญญาตรี คนละ 200,000 บาทขึ้นไป ไม่รวมอุปกรณ์การเรียน หนังสือ เครื่องแบบนักเรียน นักศึกษา ที่มีการปรับเปลี่ยนเกือบทุกปีเพื่อให้เหมาะสมกับวัยและระดับชั้น ถ้าลูกของเราจำเป็นต้องเรียนโรงเรียนเอกชน พ่อแม่จะต้องจ่ายเงินมากขึ้น และต้องจ่ายมากขึ้นไปอีกทั้งในชั้นประถมและมัธยม การวางแผนการเงินสำหรับค่าเทอมลูก ผู้ปกครองต้องคำนวณให้เหมาะสมกับสภาพคล่องของเราเอง
ค่าเล่าเรียนเฉลี่ยต่อปีตลอด 9 - 10 ปี (อนุบาล - ประถม) 20,000 – 50,000 บาท รวม 200,000 – 500,000 บาท ยังไม่รวมอุปกรณ์การเรียนขึ้นอยู่กับโรงเรียน และค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล
ระดับมัธยม
- ถ้าเรียนโรงเรียนรัฐบาล ค่าใช้จ่ายปีละ 50,000 – 60,000 บาท
- ถ้าเรียนโรงเรียนเอกชน โรงเรียน 2 ภาษา หรือโรงเรียนนานาชาติ (inter) หลักแสนหรือล้านบาทต่อปี
ระดับอุดมศึกษา แต่ละสาขาวิชาจะมีค่าใช้จ่ายไม่เท่ากัน สาขาวิชาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ก็จะมีค่าใข้จ่ายมากกว่า หลักสูตรนานาชาติแพงกว่าหลักสูตรปกติ
ค่าเรียนพิเศษ ค่าเรียนอื่นๆ ดนตรี กีฬา กิจกรรมพัฒนาทักษะ ฯลฯ
ค่าพี่เลี้ยงเด็ก
ผู้ปกครองที่ต้องทำงานประจำ ต้องใช้บริการพี่เลี้ยงเด็ก (บางคนโชคดีมีญาติ และ พ่อแม่คอยเลี้ยงให้) ค่าใช้จ่ายพี่เลี้ยงเด็ก เดือนละ 5,000 – 10,000 บาท
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ค่าเดินทางท่องเที่ยว ของเล่นลูก ค่ายานพาหนะ ฯลฯ ขึ้นอยู่กับไลฟ์สไตล์ของแต่ละครอบครัว
ภายในระยะเวลา 10 ปี ราว 500,000 – 1,000,000 บาท หรือ เดือนละ 5,000 บาทขึ้นไปต่อคน (ขึ้นอยู่กับสภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อ ฯลฯ ด้วย)
รวมแล้วประมาณ 1,200,000
ข้อมูลธนาคารแห่งประเทศไทย
ประเมินค่าใช้จ่ายทางการศึกษาสำหรับเด็กวัยเรียน ตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับปริญญาตรี หากเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาของรัฐบาล จะมีค่าใช้จ่ายประมาณ 1,600,000 บาท
หากเลือกศึกษาในสถาบันการศึกษาของเอกชนค่าใช้จ่ายที่ผู้ปกครองต้องรับผิดชอบจะอยู่ที่ประมาณ 4,000,000 บาท
หากเป็นสถาบันการศึกษานานาชาติ จะมีค่าใช้จ่าย 20,000,000 ล้านบาท ตลอดระยะเวลาเล่าเรียน
ต้นทุนการเลี้ยงดูลูก อายุตั้งแต่ 0-14 ปี จากภาพรวมประชากรทั้งประเทศ และการเข้าถึงการศึกษาของเด็กไทย ซึ่งพบว่าส่วนใหญ่ไม่มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาได้อย่างทั่วถึง ดังนั้นค่าใช้จ่ายต่อเด็ก 1 คน อยู่ประมาณ 1.6 ล้านบาท ซึ่งเป็นตัวเลขค่าใช้จ่ายหลักๆ คิดเฉลี่ยจากภาพรวมรายได้ของแต่ละครอบครัวทั้งประเทศ โดยภาระค่าใช้จ่ายครึ่งหนึ่งทางครอบครัวเป็นผู้รับผิดชอบ ส่วนที่เหลือภาครัฐหรือรัฐบาลให้การอุดหนุน ในลักษณะการจัดบริการสาธารณะ หรือประมาณฝ่ายละ 8 แสนบาท
จากข้อมูลของสภาพัฒน์และรายได้ประชาชาติ พบว่า 1 ใน 3 เป็นค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา หรือปีละ 5 แสนบาทต่อคน ส่วนค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพอยู่ที่ 7% ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด ซึ่งค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาถือเป็นตัวเลขที่สูง สร้างความกังวลให้กับคนเป็นพ่อแม่ในการแบกภาระเลี้ยงดูลูก 1 คน แม้ว่าภาครัฐได้ให้การอุดหนุนช่วยเหลือด้านการศึกษาเป็นส่วนใหญ่จากนโยบายให้เรียนฟรีแล้วก็ตาม
ขณะที่แยกตามระดับฐานะของแต่ละครอบครัว โดยพ่อแม่กลุ่มครัวเรือนร่ำรวยมีรายได้สูงที่สุด มีค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูลูก 3 ล้านบาท หรือมีรายจ่าย 2 ใน 3 ที่พ่อและแม่ต้องจ่ายเองนอกเหนือจากการอุดหนุนของภาครัฐ ซึ่งแตกต่างกับพ่อแม่กลุ่มที่มีรายได้น้อยที่สุดค่อนข้างมาก หรือต่างกัน 2 เท่า ในการเลี้ยงดูลูกในครอบครัว หากประเมินค่าใช้จ่ายของครอบครัวที่ร่ำรวยต้องแบกรับภาระประมาณ 7 เท่า ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายการศึกษาและสุขภาพ หากเทียบกับครอบครัวยากจน
“สะท้อนให้เห็นความแตกต่าง ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่ยังคงมีอยู่ในสังคมไทย เพราะค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของลูกในกลุ่มพ่อแม่ร่ำรวยเปรียบเหมือนการลงทุน เป็นการปูทางทำให้ลูกได้ทำงานดีๆ โดยพ่อแม่กลุ่มนี้มีมูลค่าใช้จ่ายมากถึง 35 เท่า หากเทียบกับครอบครัวที่จนสุด ใช้จ่ายไม่ถึง 1 หมื่นบาท และที่เหลือภาครัฐจ่ายให้ เป็นสิ่งที่ครัวเรือนยากจนไม่มีกำลังจ่ายต้องตัดสินใจหนักในการจ่ายค่าเทอมให้ลูก สุดท้ายต้องกู้ กยศ. ดังนั้นภาครัฐควรเข้ามาจัดการสวัสดิการให้ดีขึ้น สร้างมาตรฐานการศึกษาไม่ให้แตกต่างกัน เพื่อให้เด็กทุกคนได้โอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ”
ปัจจุบัน 2020 อัตราการเจริญพันธุ์ หรือจำนวนบุตร เฉลี่ยอยู่ที่ 1.5 คน ซึ่งลดจากในอดีตเป็นอย่างมาก หากเทียบกับปี 2513 มีอัตราการเจริญพันธุ์เท่ากับ 6 คน
( ขณะที่ เมื่อปี 1998 ค่าเลี้ยงดูบุตรหลาน ตั้งแต่เกิด จนบรรลุนิติภาวะ ประมาณ 300,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายเท่าที่จำเป็น โดย สมาคมพัฒนาประชากร และชุมชน)
เลี้ยงลูกจนโตใช้เงินเท่าไหร่
1. แบบประหยัด : เรียนโรงเรียนรัฐ มหาลัยรัฐ และใช้จ่ายอย่างพอเพียง
2. แบบปานกลาง : ส่งเรียนโรงเรียนแคทอลิค ต่อด้วยมหาลัยเอกชน และใช้จ่ายด้านอื่น ๆ อีกในระดับปานกลางค่อนข้างดี
3. แบบจัดเต็ม : ส่งเรียนโรงเรียนนานาชาติ ไปต่อปริญญาตรีที่ต่างประเทศ และเลี้ยงดู แบบจัดเต็ม
ถ้าต้องการให้บุตรหลาน ได้รับการศึกษาในระดับที่สูงกว่าภาคบังคับ
ตัวเลขจากสถาบันประชากรศาสตร์ ซึ่งได้วิจัยค่าใช้จ่ายสำหรับบุตรหลาน สุ่มจาก 302 ครอบครัวในจังหวัดภาคอีสาน ได้ผลดังนี้
ค่าใช้จ่าย มีค่าเดินทาง ค่าอาหาร ตำรา อุปกรณ์การศึกษา ค่าบำรุง เครื่องแบบ และอื่นๆ
• การศึกษาระดับชั้นมัธยมในโรงเรียนรัฐบาล เป็นเวลาอีก 6 ปี 24,921 บาท
• ระดับวิชาชีพตอนต้นสามปี 16,218 บาท
• ระดับประกาศนียบัตรชั้นสูงหรือ อนุปริญญา 3 ปี 20,667 บาท
• ระดับมหาวิทยาลัย อย่างน้อย 4 ปี 33,540 บาท
ทั้งหมดต้องเพิ่มจากเดิมมาอีก 150,000
เมื่อรวมค่าใช้จ่ายการศึกษาภาคบังคับ และค่าใช้จ่ายที่ต้องศึกษาสูงกว่าภาคบังคับอย่างประหยัด
อย่างน้อยที่สุด ลูกคนหนึ่งต้องใช้เงินประมาณ 300,000 บาท (คิด ณ. ปี 1998)
ปี 2008 ต้องใช้เงินไม่ต่ำว่า 505,000+150,000 = 655,000 บาท (ขั้นต่ำ)
ตัวเลขที่แท้จริง ลองคิดดูจากตัวเราเองก็ได้ เนื่องจากแต่ละคนจะมีมาตรฐานการครองชีพไม่เหมือนกัน เช่น การเดินทาง การกินอยู่ อื่นๆ
กองทุนการศึกษา = ทำให้บุตรหลานของเรา มีเงินเพียงพอ ในการศึกษาจนจบปริญญาตรีได้
วิธีการ = ทำประกันชีวิตให้ตัวเรา แล้วยกผลประโยชน์ให้ลูก อันเป็นที่รัก
หลักการ = เมื่อผู้ปกครองจากไปก่อนที่ลูกจะเรียนจบ หรือ บรรลุนิติภาวะ บริษัทจะจ่ายเงินประกันให้กับผู้ที่ดูแลลูกของเรา เพื่อจะใช้เงินนั้นเป็นค่าใช้จ่ายในการศึกษาเล่าเรียนของเด็กต่อไป
จากนี้ไป ไม่ว่าเราจะอยู่หรือไม่ ลูกหลานของเรา จะมีเงินก้อนไว้เป็นทุนการศึกษา ต่อไป
ประกันเด็ก ประกันสุขภาพเด็ก ประกันให้ลูก
กองทุนการศึกษาบุตร คืออะไร
เป็น ประกันชีวิตที่ ผู้ปกครองทำไว้ให้กับตัวเอง วันที่จากโลกไป มีเงินประกันให้ลูกเอาไปเรียน