Fire
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย+option
อัคคีภัยสถานประกอบการ
อัคคีภัยสถานประกอบการ+option
อัคคีภัย บริษัทอื่นๆ
อัคคีภัยธุรกิจ
ประกันภัยธุรกิจ
เสี่ยงภัยทุกชนิด (เสี่ยงภัยทรัพย์สิน)
สั่งซื้อประกันอัคคีภัย
ขอใบเสนอประกันอัคคีภัย
Liability
วิชาชีพแพทย์ (Doctor)
บุคคลภายนอก (Third-party)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
วิชาชีพบัญชี (Accountant)
ผู้ตรวจสอบอาคาร
ความรับผิดผู้ขนส่ง
ประกันภัยไซเบอร์ Cyber insurance
Life
แบบประกันชีวิต ▶️
ตลอดชีพ
สะสมทรัพย์
บำนาญ
จ่ายสั้น
เน้นคุ้มครองชีวิต
เน้นเก็บเงิน
อนุสัญญา
ประกันการศึกษาเด็ก
ประกันเกษียณ
ประกันเด็ก
กลุ่ม
Health
ประกันสุขภาพ
ประกันชดเชยรายได้
ประกันมะเร็ง
PA TA
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันอุบัติเหตุ+มะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ+ชดเชยรายได้
ประกันเดินทาง
ประกันเรียนต่อต่างประเทศ
Motor
ประกันภัยรถยนต์
พรบ รถยนต์
ประกันมอเตอร์ไซค์
พรบ มอเตอร์ไซค์
ประกันอื่น
ประกันวิศวกรรม
ประกันก่อสร้าง
ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด
ประกันธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์
ประกันอีเวนท์ (Event)
ประกันความซื่อสัตย์
ประกันสินเชื่อหรือเครดิตการค้า
ประกันหมาแมว (Cat&Dog)
สนับสนุน
customer login
ซื้อ+ชำระเงิน
ความรู้ประกัน
แบบฟอร์ม
อู่รถยนต์คู่สัญญาประกัน
โรงพยาบาลคู่สัญญา
เรทค่าห้อง
เกี่ยวกับเรา
เว็บบอร์ด
สมัครขายประกัน
BMI
TAX-insurance
ติดต่อ
FB
Inbox
Question
Email
(เบอร์โทรปรากฏตามเวลา)
admin LineOA
LineOA
Life Agent app(BLA)
Life Agent login(BLA)
Broker login(MTI)
Broker login(BKI)
Broker login(Aetna)
🔻
cymiz.com
MENU
ประกันอัคคีภัย ▶️
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย+option
อัคคีภัยสถานประกอบการ
อัคคีภัยสถานประกอบการ+option
อัคคีภัย บริษัทอื่นๆ
ประกันภัยธุรกิจ
เสี่ยงภัยทุกชนิด(เสี่ยงภัยทรัพย์สิน)
ประกันอัคคีภัยสำหรับธุรกิจ
สั่งซื้อประกันอัคคีภัย
ขอใบเสนอประกันอัคคีภัย
สุขภาพ | อุบัติเหตุ | เดินทาง ▶️
ประกันสุขภาพ
ประกันชดเชยรายได้
ประกันมะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันอุบัติเหตุ+มะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ+ชดเชยรายได้
ประกันเดินทาง
ประกันเรียนต่อต่างประเทศ
ประกันความรับผิดทางกฏหมาย ▶️
วิชาชีพแพทย์ (Doctor)
บุคคลภายนอก (Third-party)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
วิชาชีพบัญชี (Accountant)
ผู้ตรวจสอบอาคาร
ความรับผิดผู้ขนส่ง
ประกันภัยไซเบอร์ Cyber insurance
วิศวกรรม | รับเหมา | ก่อสร้าง ▶️
ประกันวิศวกรรม
ประกันก่อสร้าง
ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด
รถยนต์ | มอไซค์ | พรบ ▶️
ประกันรถยนต์
พรบ รถยนต์
ประกันมอเตอร์ไซค์
พรบ มอเตอร์ไซค์
ประกันภัยอื่นๆ ▶️
ประกันธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์
ประกันอีเวนท์ (Event)
ประกันความซื่อสัตย์
ประกันสินเชื่อหรือเครดิตการค้า
ประกันหมาแมว (Cat&Dog)
ประกันกลุ่ม
ประกันชีวิต
เช็คเบี้ยรถยนต์
ลดคอมม์ พ.ร.บ. ห้ามจ่ายเกิน 25%
ลดคอมม์ พ.ร.บ. ห้ามจ่ายเกิน 25%
ลดคอมม์ พ.ร.บ. ห้ามจ่ายเกิน 25%
บริษัทประกันวินาศภัยที่ขายประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถหรือประกันภาคบังคับให้ “สัญญาปากเปล่า” กันไว้ว่า 1 มกราคม 2553 “ลดค่าการตลาด” หรือ “ค่าคอมมิสชั่น” ที่จ่ายให้ “คนกลาง” ขายประกันพ.ร.บ.ส่วน
ใหญ่คือตัว แทนนายหน้าเหลือ 18-20% แต่ เปิดเพดานหากใครอยากจะจ่ายสูงกว่านี้ห้ามเกิน 25%
จุดมุ่งหมายของมาตรการที่ว่าเพื่อลดผล “ขาดทุน” ให้กับทุกบริษัทที่ขายประกันพ.ร.บ. อันเป็นผลพวงมาจากค่าสินไหม ทดแทนขยับขึ้นจากการเพิ่มความคุ้มครองให้แก่ผู้ประสบภัยจาก รถกว่าเท่าตัว โดยเพิ่มให้ 3 ส่วนคือเสียชีวิตทุพพลภาพ
ถาวร จาก 100,000 บาท เป็น 200,000 บาท, ค่าเสียหายเบื้องต้นกรณีทุพพลภาพอีก 35,000 บาทและเงินชดเชยรายวันกรณีรักษาตัวในโรงพยาบาลอีกวันละ 200 บาท/คน สูงสุดไม่เกิน 20 วัน
“กูรู” ในวงการให้ข้อมูลว่า ตอนยังไม่เพิ่มความคุ้มครอง “ต้นทุนสินไหม” หรือ Loss cost ประกันพ.ร.บ.ไม่สูงมากทำให้เค้กชิ้นนี้มี “มาร์จิ้น” อยู่พอสมควรโดยเฉพาะรถเก๋ง Loss Ratio อยู่ที่ 40% กว่าๆ รถจักรยานยนต์เกือบ 100% แต่พอเพิ่ม
ความคุ้มครอง Loss Ratio เพิ่มทันทีอีกราวๆ 15-20%
รถเก๋งขยับเป็น 60% รถจักรยานยนต์ไม่ต้องพูดถึงยิ่งกว่าขาดทุน นี่แค่ต้นทุนเฉพาะตัวสินไหมยังไม่รวมต้นทุนอีก 2 ตัวซึ่งเป็น “องค์ประกอบ” ในเบี้ยประกันทั้ง “ค่าคอมมิสชั่น” และ “ค่าบริหารจัดการในองค์กร” ทั้งค่าน้ำ ค่าไฟ เงินเดือน
พนักงานและอื่นๆ อีกจิปาถะ
โดยเฉพาะ “ค่าคอมมิสชั่น” อดีตแข่งกันจ่ายหนักมากค่าเฉลี่ยในตลาด 30-40% บางค่ายใจกล้าจ่ายให้สูง 50-55% เพื่อเอายอดขาย “ปั้นตัวเลข” สวยหรูดูเติบโตเข้าว่า ทั้งที่ “กฎหมาย” กำหนดให้จ่ายได้ไม่เกิน 12% เท่านั้น เอาค่าสินไหม
ที่ยังต่ำอยู่มาช่วยถัวเฉลี่ยจ่ายผลตอบ แทนให้ตัวแทน นายหน้า จูงใจกันสุดๆ ยิ่งถ้าใครคุมต้นทุน “แอดมิน” ได้เจ๋งๆ ยิ่งได้เปรียบ โดยค่าคอมมิสชั่นที่จ่ายกันสูงๆ จะแฝงอยู่ในรูปค่า ส่งเสริมการตลาดต่างๆ เพื่อเลี่ยงกฎหมาย
แต่สถานการณ์บริษัทประกันภัยในวันนี้ไม่เหมือนวันวาน “ต้นทุนสินไหมพ.ร.บ.” ที่จ่อคอหอย หากใครยัง “หน้ามืด” แข่งจ่ายคอมมิสชั่นเยอะๆ ตายสถานเดียว!!
เพราะค่าคอมมิสชั่นเป็น “ฟิกซ์คอสต์” เพียงตัวเดียวที่บริษัทประกันภัยสามารถ “หั่น” ลงได้ง่ายที่สุดเพื่อประคองธุรกิจให้อยู่รอดต่อไปได้ท่ามกลาง “ต้นทุนใหม่” ที่จะบวกเพิ่มขึ้นอีกเพียบจากกฎ กติกาใหม่ๆ ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับ
และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)
โดยเฉพาะกฎการดำรงเงินกองทุนตามความเสี่ยง (Risk Based Capital : RBC) ที่จะเริ่มใช้ในปี 2554 บริษัทประกันภัยจะต้อง “เพิ่มทุน” ขนานใหญ่ให้เพียงพอกับภาระหนี้สินตามกรมธรรม์ พูดง่ายๆ คือมีกองทุนพอกับความเสี่ยง
อย่างไรก็ดี การผนึกกำลัง “หั่น” ค่าคอมมิสชั่นหากบริษัทประกันภัยสามารถทำได้อย่างที่ปากว่า เป็นเรื่องดีกับบริษัท เท่าที่สอบถามบริษัทประกันภัยที่เข้าร่วมสัญญาปากเปล่า ยืนยันทุกบริษัทปฏิบัติตาม แต่มีเพียง “หนึ่งเดียว” ที่ครอง “
แชมป์” จ่ายสูงในตลาดมาก่อนหน้านี้ยังคงจ่ายสูงอยู่ถึง 45% ไม่รู้อยู่ได้อย่างไร
แต่ด้วยแรง “กดดัน” จากเกมการแข่งขันการตลาด บวกกับเป้าหมาย การเติบโตด้านตัวเลขยอดขายเอาเบี้ยเข้ามาก่อนสินไหมค่อยว่ากันทีหลังเพราะ แม้คปภ.จะออกกฎเข้มข้นขึ้นแต่จริงจังแค่ไหนอยู่ที่การบังคับใช้
อาจจะทำให้บริษัทประกันภัยที่ตั้งธง! ลดค่าคอมมิสชั่นอาจจะทำไม่ได้อย่างที่คิด
เพราะกลยุทธ์การตลาดไม่ว่าจะกี่ยุค กี่สมัย การจูงใจให้ขายด้วยการ จ่ายผลตอบแทนสูงๆ ทำงานได้ผลมาตลอด ยิ่งถ้าสามารถควบคุมต้นทุนอื่นในองค์กรลดลงได้ การลดคอมมิสชั่นอาจจะไม่แข็งขันเท่าที่ควร อีกทั้ง การลดคอมมิสชั่นย่อมทำ
ให้บริษัทนั้นๆ สูญเสียงาน
เชื่อว่า งานนี้คงมีรายการ “หักหลัง” กันบ้าง
ที่มา : สยามธุรกิจ
ID=739,MSG=831
ติดต่อเรา
สนใจ
Chat
Line OA
Question
Email
ลูกค้าเราโทรได้ 24hr
😃 ซื้อผ่านเรา .. เราดูแลคุณ |
เมูนูลัด
⭐️ เราให้คำแนะนำปรึกษา รักษาผลประโยชน์ให้ลูกค้า ของเรา
⭐️ เราอยู่เคียงข้างลูกค้าของเรา ช่วยเหลือ ดูแลบริการ
⭐️ เรารองรับช่องทางติดต่อมากมาย สะดวก เข้าถึงง่าย
⭐️ เราดำเนินธุรกิจยาวนานกว่า20 ปี คุณจึงมั่นใจได้
⭐️ คุณมีสามารถรับบริการทั้งจากบริษัทประกันเจ้าของสินค้า และ เรา (ตัวกลาง)
ไทย มีราว 80 บริษัทประกันภัย สินค้าที่แตกต่าง ทั้ง เงื่อนไข ราคา เคลม ความมั่นคง นโยบาย ฯลฯ
ขายผ่านตัวกลาง กว่า 500,000 ราย : ตัวแทน นายหน้า ธนาคาร บิ๊กซี โลตัส ค่ายรถยนต์ เฮ้าส์แบรนด์ ของประกันภัย หรือ ซื้อตรงกับบริษัทเจ้าของสินค้า
⭐️ ตัวอย่าง การบริการ
กดดูที่ลิงค์นี้
"สิ่งที่ต้องคำนึงอันดับแรกในการซื้อประกัน คือ ตัวกลางประกันภัย ซึ่งจะเป็นที่ปรึกษา ช่วยเหลือ ดูแลเรา ตลอดอายุกรมธรรม์"
โปรดรอ
display:inline-block; position:relative;
FB
Chat
LineOA
Question
Email
ลูกค้าเราโทรได้ 24hr
Search
เช็คเบี้ยรถ
โทร.(จ-ศ : 9-16) เว้นวันหยุดฯ , ลูกค้าเรา บริการ 24/7/365 , Saturday เวลา 06:40:37pm... กรุณาติดต่อ ช่องทางข้อความ
Copyright © 2018 Cymiz.com., All rights reserved.
นโยบาย,ข้อตกลง
×
Cymiz.com Insurance Consult Broker
กดถูกใจ ติดตามได้ที่เพจ FACEBOOK ของเรา
cymiz.com insurance