Fire
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย+option
อัคคีภัยสถานประกอบการ
อัคคีภัยสถานประกอบการ+option
อัคคีภัย บริษัทอื่นๆ
อัคคีภัยธุรกิจ
ประกันภัยธุรกิจ
เสี่ยงภัยทุกชนิด (เสี่ยงภัยทรัพย์สิน)
สั่งซื้อประกันอัคคีภัย
ขอใบเสนอประกันอัคคีภัย
Liability
วิชาชีพแพทย์ (Doctor)
บุคคลภายนอก (Third-party)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
วิชาชีพบัญชี (Accountant)
ผู้ตรวจสอบอาคาร
ความรับผิดผู้ขนส่ง
ประกันภัยไซเบอร์ Cyber insurance
Life
แบบประกันชีวิต ▶️
ตลอดชีพ
สะสมทรัพย์
บำนาญ
จ่ายสั้น
เน้นคุ้มครองชีวิต
เน้นเก็บเงิน
อนุสัญญา
ประกันการศึกษาเด็ก
ประกันเกษียณ
ประกันเด็ก
กลุ่ม
Health
ประกันสุขภาพ
ประกันชดเชยรายได้
ประกันมะเร็ง
PA TA
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันอุบัติเหตุ+มะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ+ชดเชยรายได้
ประกันเดินทาง
ประกันเรียนต่อต่างประเทศ
Motor
ประกันภัยรถยนต์
พรบ รถยนต์
ประกันมอเตอร์ไซค์
พรบ มอเตอร์ไซค์
ประกันอื่น
ประกันวิศวกรรม
ประกันก่อสร้าง
ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด
ประกันธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์
ประกันอีเวนท์ (Event)
ประกันความซื่อสัตย์
ประกันสินเชื่อหรือเครดิตการค้า
ประกันหมาแมว (Cat&Dog)
สนับสนุน
customer login
ซื้อ+ชำระเงิน
ความรู้ประกัน
แบบฟอร์ม
อู่รถยนต์คู่สัญญาประกัน
โรงพยาบาลคู่สัญญา
เรทค่าห้อง
เกี่ยวกับเรา
เว็บบอร์ด
สมัครขายประกัน
BMI
TAX-insurance
ติดต่อ
FB
Inbox
Question
Email
(เบอร์โทรปรากฏตามเวลา)
admin LineOA
LineOA
Life Agent app(BLA)
Life Agent login(BLA)
Broker login(MTI)
Broker login(BKI)
Broker login(Aetna)
🔻
cymiz.com
MENU
ประกันอัคคีภัย ▶️
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย+option
อัคคีภัยสถานประกอบการ
อัคคีภัยสถานประกอบการ+option
อัคคีภัย บริษัทอื่นๆ
ประกันภัยธุรกิจ
เสี่ยงภัยทุกชนิด(เสี่ยงภัยทรัพย์สิน)
ประกันอัคคีภัยสำหรับธุรกิจ
สั่งซื้อประกันอัคคีภัย
ขอใบเสนอประกันอัคคีภัย
สุขภาพ | อุบัติเหตุ | เดินทาง ▶️
ประกันสุขภาพ
ประกันชดเชยรายได้
ประกันมะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันอุบัติเหตุ+มะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ+ชดเชยรายได้
ประกันเดินทาง
ประกันเรียนต่อต่างประเทศ
ประกันความรับผิดทางกฏหมาย ▶️
วิชาชีพแพทย์ (Doctor)
บุคคลภายนอก (Third-party)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
วิชาชีพบัญชี (Accountant)
ผู้ตรวจสอบอาคาร
ความรับผิดผู้ขนส่ง
ประกันภัยไซเบอร์ Cyber insurance
วิศวกรรม | รับเหมา | ก่อสร้าง ▶️
ประกันวิศวกรรม
ประกันก่อสร้าง
ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด
รถยนต์ | มอไซค์ | พรบ ▶️
ประกันรถยนต์
พรบ รถยนต์
ประกันมอเตอร์ไซค์
พรบ มอเตอร์ไซค์
ประกันภัยอื่นๆ ▶️
ประกันธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์
ประกันอีเวนท์ (Event)
ประกันความซื่อสัตย์
ประกันสินเชื่อหรือเครดิตการค้า
ประกันหมาแมว (Cat&Dog)
ประกันกลุ่ม
ประกันชีวิต
เช็คเบี้ยรถยนต์
เทคนิค การขับรถขึ้นเขา-ลงเขา ง่ายๆ-ปลอดภัย
เทคนิค การขับรถขึ้นเขา-ลงเขา ง่ายๆ-ปลอดภัย
เทคนิค การขับรถขึ้นเขา-ลงเขา ง่ายๆ-ปลอดภัย
ฤดูหนาวเเบบนี้ น่าท่องเที่ยวกันเลยทีเดียว โดยเฉพาะหลายคนวางแผนพักร้อนเดินทางไปเที่ยวภาคเหนือ ซึ่งเป็นสถานที่ที่เต็มไปด้วยดอย-ภู ต่างๆ เพื่อหวังสมผัสอากาศหนาว
อย่างปีนี้หลายคนได้ยินข่าวว่าคนไปเที่ยวภูทับเบิกกันมาก เรื่องนี้หลายคนรู้กันดีว่า ภูทับเบิกนี่ ค่อนข้างขึ้น-ลงยากพอสมควร เพราะเส้นทางคดเคี้ยว โดยเฉพาะช่วงลงเขา เป็นระยะทางยาวๆ เราได้เห็นคลิปข่าวจำนวนมากเป็นภาพอุบัติเหตุรถเบรกแตก เบรกไหม้ ตกเขาจนบาดเจ็บเสียชีวิต วันนี้มติชนออนไลน์ขออนุญาตนำเรื่องราวเทคนิคการขับขี่รถขึ้นเขา-ลงเขาอย่างไรให้ปลอดภัย เพื่อหวังให้ผู้ขับขี่ระลึกไว้เป็นข้อมูล เเม้ซักน้อยก็ยังดี เพราะไม่อยากให้อุบัติเหตุเกิดกับใครนั่นแหละครับ...
ทั้งนี้ เริ่มจากเครื่องยนต์ การขับรถขึ้นเขา ซึ่งเป็นที่สูง อาจต้องใช้รถยนต์ที่มีกำลังเครื่องยนต์มากกว่า 1500 ซีซี ขึ้นไป ส่วนกรณีรถยนต์ อีโคคาร์ 1200 ซีซี ก็พอไปได้แต่ก็ต้องดูแรงบิดของรุ่นให้ดี
หลักการขับรถขึ้นเขาคร่าวๆ พอจะเล่าสู่กันฟังได้ดังนี้ครับ
เริ่มจากการใช้เกียร์ต่ำ ปรับเปลี่ยนเกียร์ เมื่อรถเสียกำลัง อย่าลากเกียร์จนหมดแรงส่ง ถ้าเป็นเกียร์อัตโนมัติ ให้ใช้เกียร์ 2 ในการขับขึ้นเขาลงเขา และเปลี่ยนไปใช้เกียร์ D บ้าง เมื่อรถอยู่ในทางราบ การขับให้ใช้เกียร์ช่วยตลอดทางเกียร์อัตโนมัติไม่พังง่ายๆ
ขณะที่ เมื่อขับลงเขาที่ลาดชันมากและยาวไกล ก่อนเข้าโค้งให้เปลี่ยนเกียร์จากตำแหน่ง D มา 2 ถ้า 2 ยังเอาไม่อยู่ให้เปลี่ยนมา L แต่อย่าเปลี่ยนเกียร์ขณะฝนตกทางลื่นรถจะเสียการทรงตัว การใช้เกียร์แต่ละเกียร์ควรดูสภาพทางเป็นหลักในการพิจารณา
ส่วนเกียร์ธรรมดาการทำงานจะง่ายกว่า มีเกียร์ให้เล่น 5 ตำแหน่ง และมีคลัทช์ช่วยในการส่งกำลังไปยังล้อตามที่เราต้องการได้ทุกขณะ แต่เกียร์อัตโนมัติบางรุ่นจะทำงานไม่ได้อย่างที่เราต้องการ เพราะฉะนั้นควรประเมินสภาพทางก่อนใช้เกียร์ดีที่สุด
ส่วนการขับเข้าโค้งธรรมดาหรือบนภูเขา ควรมองให้ไกลให้ลึกและให้คนนั่งข้างช่วยดูสภาพทางด้วย เมื่อแน่ใจว่าไม่มีรถสวนมาให้ใช้วิธีตัดโค้งวิธีนี้จะช่วยให้รถทรงตัวดี, เข้าโค้งได้เร็ว, รถไม่ใช้กำลังมาก ลูกปืนล้อไม่ทำงานหนัก, ยางก็ไม่ล้มตัวมาก หน้ายางจะสัมผัสผิวถนนได้มากตามไปด้วย แต่ต้องแน่ใจว่าไม่มีรถสวนมา สมมติจะเข้าโค้งขวาก่อนเข้าโค้งให้ถอนคันเร่งลง หักพวงมาลัยไปทางซ้ายนิดหนึ่ง แล้วหักพวงมาลัยมาทางขวาเพื่อทำโค้งให้กว้างขึ้น ใช้พื้นที่ถนนทุกตารางนิ้ว ถ้ารถจะเลี้ยวซ้ายก็ให้เลี้ยวทางขวานิดหนึ่งแล้วเลี้ยวซ้าย การฝึกใหม่จะรู้สึกฝืนความรู้สึกบ้าง ถ้าขับชำนาญแล้วก็จะชินไปเอง
เมื่อขับรถเข้าโค้งหักศอกขึ้นเขารูปฟันปลา การขับแบบนี้ต้องให้ผู้ช่วยดูรถด้านซ้ายด้วยโดยมองถนนด้านบนก่อนว่าไม่มีรถสวนลงมา กดแตรรถก่อนจะขับขึ้นไป หลักการขับก็เหมือนเข้าโค้งธรรมดา จะเลี้ยวซ้ายก็หักพวงมาลัยไปทางขวาก่อนแล้วหักพวงมาลัยไปทางซ้ายเข้าโค้ง เมื่อรถเข้าโค้งล้อหน้าจะเกิดแรงต้าน รถต้องใช้กำลังมาก ทำให้รถขับขึ้นได้ช้า ควรคืนพวงมาลัยกลับมาบ้าง และเร่งเครื่อง ทำแบบนี้เป็นจังหวะไปมาจนพ้นโค้ง การขับลงโค้งแบบนี้อย่าใช้ความเร็ว ควรลงช้าๆ ใช้เบรกช่วยชะลอความเร็วแต่อย่าเหยียบแรง ท้ายรถจะปัด ยิ่งหน้าฝนท้ายรถจะปัดได้ง่าย ถ้าท้ายรถปัดรถจะเสียการทรงตัว ให้หักพวงมาลัยไปทิศทางท้ายรถ เช่น เลี้ยวซ้ายท้ายรถปัดไปทางขวาก็ให้หักพวงมาลัยไปทางขวา เมื่อรถทรงตัวได้แล้วให้บังคับรถไปในทิศทางที่ต้องการ ถ้าเอาไม่อยู่ให้เลือกทางภูเขาไว้ก่อน อย่าเลือกทางหน้าผาก็แล้วกัน
หากต้องเบรก การเพิ่มระยะทางการเบรก การเบรกรถกะทันหัน รถเราอาจไปชนรถข้างหน้า ควรเลี้ยวรถดึงพวงมาลัยไปทางไหล่ทาง หรือมีพื้นที่เพื่อเพิ่มระยะทางการเบรก
ทั้งนี้ การขับรถบนภูเขาที่มีทางคดเคี้ยวไปมาเป็นเวลานานๆ เมื่อถึงทางตรงลงเขายาวไกล อย่าขับเร็วเด็ดขาด คนขับส่วนมากจะขับเร็วรถมาก อันตรายมากนะครับทางแบบนี้ น้ำหนักรถ ความเร็ว ระยะทางถ้ามีอะไรเกิดขึ้น เช่น มีรถ, คน, ฯลฯ ขึ้นจากข้างทางหักหลบไม่พ้นแน่ ถึงจะหักหลบได้แต่รถต้องเกิดอะไรแน่นอน ไม่พลิกคว่ำ แหกข้างทางเข้าป่า หรือไม่ก็ชนรถที่วิ่งสวนมา
เมื่อต้องขับรถโค้งต่อเนื่องรูปตัว S
ต้องมองให้ไกล มองให้ลึก เมื่อแน่ใจว่าทางว่าง ไม่มีรถสวนมาให้ถอนคันเร่งลง แล้วเสียบตัดโค้งในแนวการขับเป็นเส้นตรงที่สุด ง่ายไหม? ...ครับ แต่การขับรถลักษณะนี้ถ้าไม่แน่ใจเส้นทางข้างหน้าหรือทัศนวิสัยไม่ดีควรขับเข้าทางโค้งธรรมดา อยู่ในทางของเราเอง
ในส่วนการขับในทัศนวิสัยไม่ดี ทางโค้งแคบที่มีสันเขาบังสายตา ควรเข้าโค้งแบบธรรมดา ต้องบีบแตรส่งสัญญาณทุกครั้งก่อนจะเข้าโค้งเพื่อป้องกันรถที่วิ่งสวนมา เนื่องจากคนที่ขับรถเจ้าถิ่นบนภูเขาเป็นประจำจะขับรถตัดโค้ง
และเมื่อต้องเจอกับทางลูกรังหรือทางที่มีหินลอยทางแบบนี้ถือได้ว่าเป็นทาง′ปราบเซียน′กลิ้งกันมาหลายคันครับการที่ล้อรถลอยตัวขณะวิ่งเข้าโค้งเราไม่สามารถบังคับได้อย่างที่ต้องการ และการที่เราไม่คุ้นเคยกับเส้นทางมาก่อนก็ไม่ควรขับรถด้วยความเร็ว
ข้อควรระวัง
1.ขณะขับรถขึ้นทางชันหรือขึ้นเขาควรเร่งความเร็วให้สม่ำเสมอเพิ่มกำลังเครื่องยนต์อย่างนุ่มนวลแต่อย่าเร่งเครื่องยนต์อย่างรุนแรงนะครับเพราะนอกจากความเร็วจะไม่เพิ่มขึ้นแล้วยังทำให้สิ้นเปลืองน้ำมันไปโดยเปล่าประโยชน์อีกด้วย
2.อย่าใช้เกียร์ว่างในขณะลงเนินชันหรือลงเขาโดยเด็ดขาด!!เพราะจะทำให้รถไหลลงด้วยความเร็วสูง โดยไม่มีแรงหน่วงของเครื่องยนต์ อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงขึ้นได้ ดังนั้นจึงควรใช้เกียร์ต่ำ และค่อยๆปล่อยรถให้ไหลลงเนินตามรอบเครื่องยนต์ และอย่าลืมควบคุมความเร็วของรถให้สัมพันธ์กับเกียร์ ด้วยนะครับ
3. ควรใช้เกียร์ต่ำ คือเกียร์ 1 หรือ เกียร์ 2 (เกียร์อัตโนมัติคือ L)ในขณะขับรถขึ้นเขา เพราะถ้าใช้เกียร์ที่สูง อย่างเช่นเกียร์ 3, 4 หรือ 5 จะทำให้เครื่องยนต์ไม่มีกำลังและแรงฉุดมากพอที่จะเคลื่อนที่ขึ้นเนินเขา นอกจากนี้ยังเป็นการผลาญน้ำมันโดยไม่จำเป็นอีกด้วย
ระวังจะผ้าเบรกไหม้ ใช้รอบเครื่องเบรกก็เปลืองน้ำมัน.
cr. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
ID=2721,MSG=3418
ติดต่อเรา
สนใจ
Chat
Line OA
Question
Email
Sleep
😃 ซื้อผ่านเรา .. เราดูแลคุณ |
เมูนูลัด
⭐️ เราให้คำแนะนำปรึกษา รักษาผลประโยชน์ให้ลูกค้า ของเรา
⭐️ เราอยู่เคียงข้างลูกค้าของเรา ช่วยเหลือ ดูแลบริการ
⭐️ เรารองรับช่องทางติดต่อมากมาย สะดวก เข้าถึงง่าย
⭐️ เราดำเนินธุรกิจยาวนานกว่า20 ปี คุณจึงมั่นใจได้
⭐️ คุณมีสามารถรับบริการทั้งจากบริษัทประกันเจ้าของสินค้า และ เรา (ตัวกลาง)
ไทย มีราว 80 บริษัทประกันภัย สินค้าที่แตกต่าง ทั้ง เงื่อนไข ราคา เคลม ความมั่นคง นโยบาย ฯลฯ
ขายผ่านตัวกลาง กว่า 500,000 ราย : ตัวแทน นายหน้า ธนาคาร บิ๊กซี โลตัส ค่ายรถยนต์ เฮ้าส์แบรนด์ ของประกันภัย หรือ ซื้อตรงกับบริษัทเจ้าของสินค้า
⭐️ ตัวอย่าง การบริการ
กดดูที่ลิงค์นี้
"สิ่งที่ต้องคำนึงอันดับแรกในการซื้อประกัน คือ ตัวกลางประกันภัย ซึ่งจะเป็นที่ปรึกษา ช่วยเหลือ ดูแลเรา ตลอดอายุกรมธรรม์"
โปรดรอ
display:inline-block; position:relative;
FB
Chat
LineOA
Question
Email
Sleep
Search
เช็คเบี้ยรถ
โทร.(จ-ศ : 9-16) เว้นวันหยุดฯ , ลูกค้าเรา บริการ 24/7/365 , Thursday เวลา 06:55:53pm
(ลูกค้าเราติดต่อทางไลน์พิเศษที่ให้ไว้ตอนซื้อประกัน😍)
Copyright © 2018 Cymiz.com., All rights reserved.
นโยบาย,ข้อตกลง
×
Cymiz.com Insurance Consult Broker
กดถูกใจ ติดตามได้ที่เพจ FACEBOOK ของเรา
cymiz.com insurance