Fire
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย+option
อัคคีภัยสถานประกอบการ
อัคคีภัยสถานประกอบการ+option
อัคคีภัย บริษัทอื่นๆ
อัคคีภัยธุรกิจ
ประกันภัยธุรกิจ
เสี่ยงภัยทุกชนิด (เสี่ยงภัยทรัพย์สิน)
สั่งซื้อประกันอัคคีภัย
ขอใบเสนอประกันอัคคีภัย
Liability
วิชาชีพแพทย์ (Doctor)
บุคคลภายนอก (Third-party)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
วิชาชีพบัญชี (Accountant)
ผู้ตรวจสอบอาคาร
ความรับผิดผู้ขนส่ง
ประกันภัยไซเบอร์ Cyber insurance
Life
แบบประกันชีวิต ▶️
ตลอดชีพ
สะสมทรัพย์
บำนาญ
จ่ายสั้น
เน้นคุ้มครองชีวิต
เน้นเก็บเงิน
อนุสัญญา
ประกันการศึกษาเด็ก
ประกันเกษียณ
ประกันเด็ก
กลุ่ม
Health
ประกันสุขภาพ
ประกันชดเชยรายได้
ประกันมะเร็ง
PA TA
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันอุบัติเหตุ+มะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ+ชดเชยรายได้
ประกันเดินทาง
ประกันเรียนต่อต่างประเทศ
Motor
ประกันภัยรถยนต์
พรบ รถยนต์
ประกันมอเตอร์ไซค์
พรบ มอเตอร์ไซค์
ประกันอื่น
ประกันวิศวกรรม
ประกันก่อสร้าง
ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด
ประกันธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์
ประกันอีเวนท์ (Event)
ประกันความซื่อสัตย์
ประกันสินเชื่อหรือเครดิตการค้า
ประกันหมาแมว (Cat&Dog)
สนับสนุน
customer login
ซื้อ+ชำระเงิน
ความรู้ประกัน
แบบฟอร์ม
อู่รถยนต์คู่สัญญาประกัน
โรงพยาบาลคู่สัญญา
เรทค่าห้อง
เกี่ยวกับเรา
เว็บบอร์ด
สมัครขายประกัน
BMI
TAX-insurance
ติดต่อ
FB
Inbox
Question
Email
(เบอร์โทรปรากฏตามเวลา)
admin LineOA
LineOA
Life Agent app(BLA)
Life Agent login(BLA)
Broker login(MTI)
Broker login(BKI)
Broker login(Aetna)
🔻
cymiz.com
MENU
ประกันอัคคีภัย ▶️
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย
อัคคีภัยที่อยู่อาศัย+option
อัคคีภัยสถานประกอบการ
อัคคีภัยสถานประกอบการ+option
อัคคีภัย บริษัทอื่นๆ
ประกันภัยธุรกิจ
เสี่ยงภัยทุกชนิด(เสี่ยงภัยทรัพย์สิน)
ประกันอัคคีภัยสำหรับธุรกิจ
สั่งซื้อประกันอัคคีภัย
ขอใบเสนอประกันอัคคีภัย
สุขภาพ | อุบัติเหตุ | เดินทาง ▶️
ประกันสุขภาพ
ประกันชดเชยรายได้
ประกันมะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันอุบัติเหตุ+มะเร็ง
ประกันอุบัติเหตุ+ชดเชยรายได้
ประกันเดินทาง
ประกันเรียนต่อต่างประเทศ
ประกันความรับผิดทางกฏหมาย ▶️
วิชาชีพแพทย์ (Doctor)
บุคคลภายนอก (Third-party)
ผลิตภัณฑ์ (Product)
วิชาชีพบัญชี (Accountant)
ผู้ตรวจสอบอาคาร
ความรับผิดผู้ขนส่ง
ประกันภัยไซเบอร์ Cyber insurance
วิศวกรรม | รับเหมา | ก่อสร้าง ▶️
ประกันวิศวกรรม
ประกันก่อสร้าง
ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด
รถยนต์ | มอไซค์ | พรบ ▶️
ประกันรถยนต์
พรบ รถยนต์
ประกันมอเตอร์ไซค์
พรบ มอเตอร์ไซค์
ประกันภัยอื่นๆ ▶️
ประกันธุรกิจนำเที่ยว มัคคุเทศก์
ประกันอีเวนท์ (Event)
ประกันความซื่อสัตย์
ประกันสินเชื่อหรือเครดิตการค้า
ประกันหมาแมว (Cat&Dog)
ประกันกลุ่ม
ประกันชีวิต
เช็คเบี้ยรถยนต์
สิทธิลดหย่อนภาษี
สิทธิลดหย่อนภาษี
สิทธิลดหย่อนภาษี
เราจะใช้สิทธิ์ในการลดหย่อนภาษีได้ในกรณีใดบ้าง
1. การ ลดหย่อนในกรณีมีบุตร ไม่ว่าจะเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรม สามารถหักลดหย่อนได้คนละ 15,000 บาท เงื่อนไข ไม่เกิน 3 คน และอายุไม่เกิน 25 ปี หากยังศึกษาอยู่ในมหาวิทลัยหรือชั้นอุดมศึกษาเฉพาะภายในประเทศสามารถลด หย่อนเพื่อการศึกษาได้อีกคนละ 2,000 บาท
2. ผู้ ที่ทำประกันชีวิต สามารถใช้สิทธิ์ในการลดหย่อนภาษีได้อีกทางหนึ่ง เพราะเบี้ยประกันภัยส่วนที่เกิน 10,000 บาทแต่ไม่เกิน 40,000 บาทที่จ่ายไป เป็นเงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษีแต่ต้องเป็นกรมธรรม์ที่ได้ชำระเบี้ยไม่ ต่ำกว่า 10 ปีขึ้นไป
3. สมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คุณพ่อคุณแม่ทราบหรือไม่ว่าเงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพนั้น สามารถนำมาหัก ลดหย่อนได้ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาทต่อปี
4. การ บริจาคเงิน ไม่ว่าคุณจะใจบุญแค่ไหนก็ตาม หลังบริจาคเงินให้แก่มูลนิธิหรือสถานที่ต่างๆ แล้ว ถ้าสามารถขอหลักฐานการบริจาคได้จะดีมากค่ะ เพราะเงินที่บริจาคแก่การกุศล ก็นำมาหักภาษีได้เท่าจำนวนเงินที่จ่ายจริง แต่ได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของรายได้นั่นหมายความว่าการบริจาคทุกครั้ง ไม่ว่าจะเป็นรายบุคคลหรือองค์กรก็จะได้รับสิทธิ์ดังกล่าวเช่นกัน
5. สมาชิก กองทุนประกันสังคม ก็จะได้รับสิทธิ์ในการลดหย่อนภาษีด้วย เพราะเงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ทั้งของคุณพ่อและคุณแม่ หรือผู้ที่ไม่ได้ทำงานแต่ยังรักษาสิทธิ์การเป็นสมาชิกของกองทุนประกันสังคม และจ่ายเงินสมทบต่อเนื่องก็สามารถนำมาหักลดหย่อนภาษีได้
6. ผู้ที่มี หน้าที่เลี้ยงดูบุพการี สำหรับเรื่องนี้น่าจะเป็นสิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ และเชื่อว่าเป็นเรื่องใหม่สำหรับคนสำหรับคนส่วนใหญ่ หากวันนี้คุณมีหน้าที่ต้องดูแลบุพการี ไม่ว่าจะเป็นคุณปู่คุณย่าคุณตาคุณยายที่อายุ 60 ปีขึ้นไป ก็มีสิทธิ์ที่จะได้รับการลดหย่อนภาษีได้จำนวน 3 หมื่นบาท แต่กรมสรรพากรให้สิทธิ์นี้กับลูกเพียงคนเดียวเท่านั้น ดิฉันขอแนะนำให้คุณสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้จากกรมสรรพากร เพื่อจะได้ศึกษาเงื่อนไขในเรื่องดังกล่าวต่อไป
ไม่ว่าจะเป็น เงินทำบุญ เลี้ยงดูบุตรและภรรยา ค่าเบี้ยประกันชีวิต ฯลฯ สามารถนำมาหักและลดหย่อนภาษีได้ 5 หมื่นบาท นอกจากนี้แล้วเงินลงทุนในกองทุนต่างๆ ที่สรรพากรได้กำหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งสามารถนำมาหักลดหย่อนได้ตามเงินลงทุนจริง แต่ไม่เกิน 15% ของเงินได้ต่อปี
อ่านมาถึงตรงนี้ ทุกคนคงเห็นความสำคัญของการจ่ายภาษีมากขึ้น อย่าหลบหลีกหรือเลี่ยงที่จะจ่ายภาษีเงินได้อีกต่อไปเลยค่ะ เพราะกฎหมายนั้นได้ให้สิทธิประโยชน์ของทุกๆ คนที่จ่ายภาษีเช่นกัน สิ้นปีนี้ก็อย่าลืมคำนวณรายได้และหักลดหย่อนกับสิทธิพิเศษที่คุณได้รับนะคะ
รายได้สุทธิ ที่จะนำมาคิดภาษี = รายได้ทั้งปี (รวมโบนัส รวมโอที รวมทุกอย่าง) - ค่าใช้จ่าย (ตัวคนเดียว 60,000 บาท) - ค่าลดหย่อน 30,000 บาท - ค่าลดหย่อนอื่นๆ
จากนั้นก็ นำ รายได้สุทธิ มาคิดภาษี ตามอัตราภาษี ดังนี้
100,000 แรก ไม่เสีย
100,001 - 500,000 ต่อมา เสีย 10%
500,001 - 1,000,000 ต่อมา เสีย 20%
1,000,001 - 4,000,000 ต่อมา เสีย 30%
4,000,001 ขึ้นไป เสีย 37%
แล้วก็เอาภาษีที่ต้องเสียในแต่ละช่วงมาบวกกัน ก็จะได้ภาษีที่ต้องจ่ายแล้ว!
ที นี้ ก็จะเห็นได้ว่า รายได้ส่วนที่เกิน 600,000 บาท ก็จะต้องเสียอัตรา 20% และยิ่งถ้ามีรายได้เยอะกว่านั้น ส่วนที่เกิน 1,100,000 บาท ก็ต้องเสีย 30%
ดัง นั้น เขาจึงพยายามลด รายได้ ตรงส่วนที่เกินเข้ามาในช่วงอัตราภาษีที่สูงขึ้น เช่น ลดส่วนที่เกิน 600,000 บาท ก็จะเหลือเสียภาษีในอัตรา 10% อย่างเดียว หรือไม่ก็ทำให้เสียอัตรา 20% น้อยลง อันนี้ทำได้โดยการเพิ่มค่าลดหย่อนต่างๆค่ะ เราจึงได้ยินกันว่าให้ซื้อ LTF, RMF หรือ ให้ซื้อประกันชีวิต ก็เพื่อเอามาหักส่วนที่เกินไปในเขตอัตราภาษีสูงนั้นเอง
คราวนี้มาดูว่า เราสามารถหักค่าลดหย่อนอะไรได้บ้าง นอกจาก ตัวเอง สามี/ภริยา พ่อแม่อายุมากกว่า 60ปี ลูก
1. ประกันชีวิต: ต้องระยะ 10 ปีขึ้นไป และหักได้ไม่เกิน 100,000 บาท ทั้งบริษัทประกันเอง และธนาคารก็มีให้ซื้อนะ ต้องซื้อภายในธันวาคมของปีที่จะหักนะ ความเสี่ยงต่ำ แต่ก็ต้องเก็บยาวหน่อย
2. กองทุนหุ้นระยะยาว Long Term Equity Fund (LTF): เป็นกองทุนรวมที่ลงทุนในหุ้นมากกว่า 65% ต้องถือไว้อย่างน้อย 5 ปี โดย ซื้อ ธันวาคม ของปีที่1 และขาย มกราคม ของปีที่ 5 ก็ได้ คือ ถือไว้จริงประมาณ 3ปีกว่า มีทั้งแบบปันผล และไม่ปันผล แต่แบบปันผล เงินปันผลก็เสียภาษี ณ ที่จ่ายนะ
LTF ที่จะเอามาหักภาษีได้นั้น ซื้อได้ไม่เกิน 15% ของรายได้ทั้งปี แต่ไม่เกิน 300,000 บาท ทุก บลจ. มีขายหมดแหละ วันที่ 28 ธ.ค. เป็นวันสุดท้ายของปีนี้ที่จะซื้อได้แล้วนะ ต้องขอโทษที่ กว่าจะมาเขียนก็เหลือวันสุดท้ายแล้ว แต่ถ้าจะซื้อก็ยังทันนะคะ ลดภาษีได้ แถมได้กำไรจากการลงทุนด้วยนะคะ คือ ถ้าตอนขาย หุ้นมันไม่ตกไปกว่าปีที่เราซื้ออะนะคะ คือรัฐสนับสนุนให้ลงทุนค่ะ จึงให้เอามาหักภาษีได้
3. กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ Retirement Mutual Fund (RMF): อันนี้ก็ต้องเก็บไว้อย่างน้อย 5 ปีเหมือนกัน ต้องฝากทุกปี จนอายุ 55 จึงจะถอนได้ค่ะ
อัน นี้สำหรับการหักภาษีซื้อได้ 15% ของรายได้เช่นกัน แต่เมื่อคิดรวมกับ กองทุนสำรองสำรองเลี้ยงชีพ หรือ กบข. แล้ว ต้องไม่เกิน 300,000 บาท (อายุยังไม่ใกล้ก็ยังไม่ซื้อดีกว่าค่ะ)
4. บริจาคต่างๆ จากที่เคยเขียน เงินเดือนออกแล้วให้ใครบ้าง นั้น ที่เราบริจาค หรือทำบุญต่างๆ ถ้ามีใบเสร็จ หรือ ใบอนุโมทนาบัตร ก็จะเอามาลดหย่อนภาษีได้นะคะ อย่างที่อุปการะเด็กกับมูลนิธิศุภนิมิต ก็เอามาลดหย่อนภาษีได้นะคะ แต่ถ้าบริจาคให้โรงเรียนก็จะลดภาษีได้ 2 เท่าของเงินที่บริจาคค่ะ แต่ว่าอันนี้ไม่เคยทำเหมือนกัน
ลองใช้ อันนี้ คำนวณภาษีดูนะคะ เป็นexcel ของ บลจ.ไทยพาณิชย์ แล้วจะเข้าใจมากขึ้น และดูได้ด้วยว่า ถ้าซื้อ LTF เท่านี้ ประกันเท่านี้ จะต้องเสียภาษีเท่าไร
วิธี ดูว่าเราควรจะซื้อ LTF หรือ ประกัน เท่าไร ก็ดูจากจำนวนเงินที่อยู่ในส่วนของ 20% ขึ้นไปหนะค่ะ เท่าไร ก็ควรซื้อเท่านั้น จะได้ลดได้หมด แต่ถ้ายังอยู่ในช่วง 10% ยังไม่ต้องซื้อก็ยังได้ค่ะ
มีความสุขกับวันหยุดทุกๆคนนะคะ ขอให้บริหารการเงินกันประสบความสำเร็จ และขอให้ปีใหม่ 2551 เป็นปีที่ดีและเต็มเปี่ยมไปด้วยความสำเร็จและสมหวังสำหรับทุกคนค่ะ
ID=1567,MSG=1747
ติดต่อเรา
สนใจ
Chat
Line OA
Question
Email
ON Line
😃 ซื้อผ่านเรา .. เราดูแลคุณ |
เมูนูลัด
⭐️ เราให้คำแนะนำปรึกษา รักษาผลประโยชน์ให้ลูกค้า ของเรา
⭐️ เราอยู่เคียงข้างลูกค้าของเรา ช่วยเหลือ ดูแลบริการ
⭐️ เรารองรับช่องทางติดต่อมากมาย สะดวก เข้าถึงง่าย
⭐️ เราดำเนินธุรกิจยาวนานกว่า20 ปี คุณจึงมั่นใจได้
⭐️ คุณมีสามารถรับบริการทั้งจากบริษัทประกันเจ้าของสินค้า และ เรา (ตัวกลาง)
ไทย มีราว 80 บริษัทประกันภัย สินค้าที่แตกต่าง ทั้ง เงื่อนไข ราคา เคลม ความมั่นคง นโยบาย ฯลฯ
ขายผ่านตัวกลาง กว่า 500,000 ราย : ตัวแทน นายหน้า ธนาคาร บิ๊กซี โลตัส ค่ายรถยนต์ เฮ้าส์แบรนด์ ของประกันภัย หรือ ซื้อตรงกับบริษัทเจ้าของสินค้า
⭐️ ตัวอย่าง การบริการ
กดดูที่ลิงค์นี้
"สิ่งที่ต้องคำนึงอันดับแรกในการซื้อประกัน คือ ตัวกลางประกันภัย ซึ่งจะเป็นที่ปรึกษา ช่วยเหลือ ดูแลเรา ตลอดอายุกรมธรรม์"
โปรดรอ
display:inline-block; position:relative;
FB
Chat
LineOA
Question
Email
ON Line
Search
เช็คเบี้ยรถ
โทร.(จ-ศ : 9-16) เว้นวันหยุดฯ , ลูกค้าเรา บริการ 24/7/365 , Wednesday เวลา 01:06:24pm
ซื้อประกัน 085-911-3737
Copyright © 2018 Cymiz.com., All rights reserved.
นโยบาย,ข้อตกลง
×
Cymiz.com Insurance Consult Broker
กดถูกใจ ติดตามได้ที่เพจ FACEBOOK ของเรา
cymiz.com insurance