การปรับตัว ของธุรกิจขายยา ผลกระทบจากพรบ ความรับผิดต่อสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

การปรับตัว ของธุรกิจขายยา ผลกระทบจากพรบ ความรับผิดต่อสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

การปรับตัว ของธุรกิจขายยา ผลกระทบจากพระราชบัญญัติ ความรับผิดต่อความเสียหายที่ เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ. ศ 2551 และ พระราชบัญญัติวิธี พิจารณาคดีผู้บริโภค

การปรับตัว ของธุรกิจขายยา ผลกระทบจากพระราชบัญญัติ ความรับผิดต่อความเสียหายที่ เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ. ศ 2551 และ พระราชบัญญัติวิธี พิจารณาคดีผู้บริโภค พ. ศ. 2551
2  สาเหตุของความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้น สินค้า : ผลิตภัณฑ์ ยา บริการ : การเลือกสรรยา จ่ายยา ให้คำแนะนำ เกี่ยวกับยา
3  ความเสียหายอันเกิดจากยา ๑ ( สินค้าที่ก่อหรืออาจก่อให้เกิดความ เสียหาย ) ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ ( การเก็บรักษา ) ยาไม่ได้ขึ้นทะเบียนตำรับยา หรือ ยกเลิก ยาที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียน ตำรับยา มูลเหตุ คุณภาพของยา
4  ความเสียหายอันเกิดจากยา ๒ การปนเปื้อน แพ้ยา ภาชนะบรรจุ รักษา คุณภาพ มูลเหตุ ความบกพร่องจากการผลิต ( แบ่งบรรจุ )
5  ความเสียหายอันเกิดจากยา ๓ ซองยา : ผิดพลาด ไม่สมบูรณ์ เอกสารกำกับยา : ผิดพลาด ไม่ สมบูรณ์ มูลเหตุ : ความบกพร่องจากฉลากข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า
6  ความเสียหายจากการให้บริการ 1. ความเสี่ยงที่จ่ายยาที่แพ้ให้คนที่มีประวัติแพ้ ยา 2. ความเสี่ยงที่จะเกิดจากจ่ายยาผิดคน 3. ความเสี่ยงที่เกิดจากการจ่ายยาไม่เหมาะกับ โรคหรืออาการที่เป็น 4. ความเสี่ยงที่จะเกิดจากยาที่ไม่เหมาะสมกับ สภาพร่างกายของผู้ป่วย 5. ความเสี่ยงที่จะเกิดอาการไม่พึงประสงค์ของ ยา ( ทั้งๆที่ลดความรุนแรงได้ ) 6. ความเสี่ยงที่จะเกิดจากจ่ายยาที่มีปฏิกิริยา กับยาอื่นที่ผู้ป่วยใช้ประจำอยู่ 7. ความเสี่ยงที่จะเกิดจากการจ่ายยาซ้ำซ้อน ฯลฯ
7  ผลกระทบต่อธุรกิจ ยา คุณภาพมาตรฐานสินค้าดีขึ้น มาตรฐานการประกอบการดีขึ้น ภาพลักษณ์ที่ดี ประกอบการด้วยความเป็น “ วิชาชีพ ” เพิ่มต้นทุน ( ลดค่าใช้จ่ายส่วนอื่นที่ ไม่จำเป็นแทน )
8  แนวทางการ ปรับตัว เข้าสู่ “ ระบบคุณภาพ ” เพื่อลดความเสี่ยง นำ “ วิธีปฏิบัติที่ดี ” มาใช้ทุกขั้นตอนตั้งแต่ผลิต ขนส่ง จัดเก็บ จ่ายยา ปฏิบัติตาม ข้อบังคับสภาวิชาชีพฯ และ มาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม การบันทึก จัดเก็บเอกสาร หลักฐาน ในการสืบย้อน ยืนยัน ให้ความสำคัญเกี่ยวกับข้อมูล ฉลาก เอกสารกำกับ คำเตือน ข้อบ่งใช้ ( ใช้ Consumer Pack ) ไม่เสี่ยง จ่ายยาอันตรายและยาควบคุมพิเศษในขณะที่เภสัช กรไม่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ ทำประกันความเสียหาย
9  มาตรการจำกัดความ เสียหาย Product Recall ( ระบบเรียกยาคืน ) Adverse Drug Reaction Monitoring ( ระบบติดตามอาการไม่พึง ประสงค์ )
10  ข้อเรียกร้อง ผู้ผลิต นำเข้าฯ ขนส่งยา  เคร่งครัดมาตรฐานการผลิต ขนส่ง ตามมาตรฐาน GMP GDP  ฉลากและเอกสารกำกับยา ครบถ้วน ถูกต้อง และอยู่ในรูปแบบ Consumer pack  ร่วมกันวางระบบการติดตามอาการไม่ พึงประสงค์ และแจ้งอาการไม่พึง ประสงค์ให้ร้านยารับรู้  ร่วมกันจัดระบบเรียกยาคืน เผื่อกรณี ยามีปัญหา


ID=2890,MSG=3988


⭐️ เราให้คำแนะนำปรึกษา รักษาผลประโยชน์ให้ลูกค้า ของเรา
⭐️ เราอยู่เคียงข้างลูกค้าของเรา ช่วยเหลือ ดูแลบริการ
⭐️ เรารองรับช่องทางติดต่อมากมาย สะดวก เข้าถึงง่าย
⭐️ เราดำเนินธุรกิจยาวนานกว่า20 ปี คุณจึงมั่นใจได้
⭐️ คุณมีสามารถรับบริการทั้งจากบริษัทประกันเจ้าของสินค้า และ เรา (ตัวกลาง)

ไทย มีราว 80 บริษัทประกันภัย สินค้าที่แตกต่าง ทั้ง เงื่อนไข ราคา เคลม ความมั่นคง นโยบาย ฯลฯ
ขายผ่านตัวกลาง กว่า 500,000 ราย : ตัวแทน นายหน้า ธนาคาร บิ๊กซี โลตัส ค่ายรถยนต์ เฮ้าส์แบรนด์ ของประกันภัย หรือ ซื้อตรงกับบริษัทเจ้าของสินค้า
⭐️ ตัวอย่าง การบริการ กดดูที่ลิงค์นี้

"สิ่งที่ต้องคำนึงอันดับแรกในการซื้อประกัน คือ ตัวกลางประกันภัย ซึ่งจะเป็นที่ปรึกษา ช่วยเหลือ ดูแลเรา ตลอดอายุกรมธรรม์"

โปรดรอ

display:inline-block; position:relative;
โทร.(จ-ศ : 9-16) เว้นวันหยุดฯ , ลูกค้าเรา บริการ 24/7/365 , Thursday เวลา 08:01:27pm (ลูกค้าเราติดต่อทางไลน์พิเศษที่ให้ไว้ตอนซื้อประกัน😍)
Copyright © 2018 Cymiz.com., All rights reserved.นโยบาย,ข้อตกลงcymiz.com